เมนู

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็น
ปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของ
อารัมมณปัจจัย.

3. อธิปติปัจจัย


[1982] 1. อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลกระทำวิญญาณัญจายตนะที่เป็นอตีตธรรมให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่นแล้ว พิจารณา.
กระทำเนวสัญญานาสัญญายตนะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว
พิจารณา.
กระทำอิทธิวิธญาณที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรมให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
กระทำเจโตปริยญาณ ฯลฯ กระทำปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ กระ-
ทำยถากัมมูปคญาณให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
กระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรม ให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะ
กระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่เป็นอตีตารัมมณธรรม
ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นอารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้ง-
หลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[1983] 2. อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะการทำวิญญาณัญจายตนะ
ที่เป็นอนาคตให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ เนวสัญญานาสัญญายตนะ
ฯลฯ กระทำอิทธิวิธญาณที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรมให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำเจโตปริยญาณ ฯลฯ กระทำปุพเพนิวาสานุสสติ-
ญาณ ฯลฯ การทำยถากัมมูปคญาณ ฯลฯ กระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคต
ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำขันธ์นั้น
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ย่อมเกิด
ขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
[1984] 3. อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำอิทธิวิธญาณที่เป็น
อนาคต ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ
กระทำเจโตปริยญาณ ฯลฯ กระทำอนาคตังสญาณให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
แล้ว พิจารณา, กระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณ-
ธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อม
เกิดขึ้น.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[1985] 4. อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยขันธ์แก่อตีตารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีเดียวอย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำอิทธิวิธญาณที่เป็น
อตีตา ซึ่งเป็นนอนาคตารัมมณธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำ
เจโตปริยญาณ ฯลฯ กระทำอนาคตังสญาณให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ
กระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอตีตา ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรมให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำขันธ์นั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ
ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

[1986] 5. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุป-
ปันนารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[1987] 6. ปัจจุปปันารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตา-
รมธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำทิพยจักษุที่เป็น
อตีตาธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา, กระทำทิพโสตธาตุ
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา, กระทำอิทธิวิธญาณที่เป็นอดีต
ซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำ
เจโตปริยญาณให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
อดีต ซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้น
กระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็นอตีตารัมมณ-
ธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
[1988] 7. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำทิพยจักษุที่เป็น
อนาคตธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา, กระทำทิพโสตะ
ธาตุให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำอิทธวิธิญญาณที่เป็นอนาคตซึ่ง
เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น กระทำขันธ์
ทั้งหลายที่เป็นอนาคตซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น ครั้นกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็น
อนาคตารัมมณธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

4. อนันตรปัจจัย


[1989] 1. อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตร-
ปัจจัย.
[1990] 2. อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ภวังค์ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณ-
อนาคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.